หมวดที่ ๕

สำนักงานสีเขียว (Green Office)

 

 

หมวดที่ ๕ สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย 

 

หมวด/ตัวชี้วัด หลักฐานการตรวจประเมิน
หมวดที่ ๕ สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย
๕.๑ อากาศในสำนักงาน
(รับผิดชอบโดยคุณปิ่นมณี / คุณอุมาพร / คุณดวงกมล)
๕.๑.๑ การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน
(๑) มีแผนการดูแลรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน)
(๒) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตาม แผนการดูแลรักษา
(๓) มีการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดในข้อ ๑
(๔) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อ ๑
(๕) การจัดวางเครื่องปริ้นเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสารให้ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน
(๖) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับเครื่องยนต์
(๗) การป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษทางอากาศภายในสำนักงาน (ถ้ามี)
(๘) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการเกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรมต่างๆ เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย (สามารถพิจารณาจากเอกสารหรือภาพถ่าย เป็นหลักฐานประกอบ)
(๑) และ (๒)
- แผนการบำรุงรักษาประจำปี 2566 อาคารบริหาร
(๓) รายงานผลตามแผนฯ
- สัญญาจ้างล้างเครื่องปรับอากาศและรายงานผลฯ
- รายงานการตรวจเช็คเครื่องถ่ายเอกสาร เดือนมกราคม
- รายงานการทำความสะอาด เดือนมกราคม
(๔) และ (๖) รูปการมีติดป้าย เรื่อง ดับเครื่องยนต์ และการจอดรถ บริเวณหน้าอาคารคณะเภสัชศาสตร์
(๕) รูปการจัดห้องสำหรับการวางเครื่องพิมพ์เอกสารเป็นสัดส่วน โดยอยู่ไม่ติดกับบริเวณโต๊ะทำงาน เป็นห้องมีการเปิดหน้าต่างเพื่อระบายอากาศ
(๗) แผนการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค ประจำปี 2566
(๘) แผนการสื่อสาร
๕.๑.๒ มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมีการกำหนด พื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสมและปฏิบัติตามที่กำหนด
(๑) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่
(๒) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่
(๓) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่
(๔) เขตสูบบุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิด ความเดือดร้อนรำคาญแก่ประชาชนที่อยู่บริเวณ ข้างเคียง ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า ออกของ สถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มาใช้สถานที่นั้น
(๕) ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่
มีกาติดป้ายประกาศรณรงค์การไม่สูบบุหรี่และผลกระทบต่อสุขภาพ
- หลักฐานการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่
(๒) รูปป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่
(๓)-(๔)
- มีการติดป้ายสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่ ในสถานที่ที่กำหนด ซึ่งเป็นบริเวณนอกอาคาร ที่ไม่ก่อให้เกิดความเดือนร้อนกับนักศึกษาและบุคลากร รูปป้ายสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่
(๕) ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอกเขตสูบบุหรี่
๕.๑.๓ การจัดการมลพิษอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน
(๑) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษ อากาศจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
(๒) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ(๑) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้
   - มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงานมีที่กั้นเพื่อกันมลพิษทางอากาศกระทบกับพนักงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
(๑) ประกาศมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษ อากาศจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
- กองงานวิทยาเขตเพชรบุรี มีการปรับปรุงอาคารในช่วงเดือนมกราคม ถึงกุมภาพันธ์ 2566 และดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษอากาศ

- ประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง (เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม)
(๒) หลักฐานการปฏิบัติตามมาตรการ
- เนื่องจากบริเวณที่ทางกองงานวิทยาเขตเพชรบุรีปรับปรุงเป็นส่วนด้านนอกอาคาร และมีที่กั้นเพื่อกันมลพิษทางอากาศ โดยไม่กระทบกับการทำงานและการเรียนการสอน

- รูปภาพบริเวณห้องที่ปรับปรุง2566
๕.๒ แสงในสำนักงาน
(รับผิดชอบโดยคุณณัฏฐ์ชยธร)
๕.๒.๑ มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มแสงที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐานกำหนด
(๑) มีการตรวจวัดความเข้มแสงประจำปีพร้อม แสดงหลักฐานผลการตรวจวัดแสงเฉพาะจุด ทำงานแลพื้นที่ทำงาน
(๒) เครื่องวัดแสงจะต้องมีมาตรฐานและได้รับการสอบเทียบ (แสดงหลักฐานใบรับรอง)
(๓) ผลการตรวจวัดจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานกฎหมายกำหนด
(๔) ผู้ที่ตรวจวัดความเข้มแสงจะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
- มีการประสานงานการตรวจวัดค่าแสงสว่าง (ดำเนินการโดย)
- หลักฐานก่อนตรวจแสงไฟฟ้า รูปภาพแสดงแสงไฟฟ้าทั้งอาคาร
- หลักฐานการปรับปรุงหลังตรวจ
ยังไม่มี รอรับการตรวจแสงสว่างและการรับรองค่าแสงสว่างจาก
๕.๓ เสียง
(รับผิดชอบโดยคุณดวงกมล)
๕.๓.๑ การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคาร สำนักงาน
(๑) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
(๒) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ(๑) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน
- กองงานวิทยาเขตเพชรบุรี มีการปรับปรุงอาคารในช่วงเดือนมกราคม ถึงกุมภาพันธ์ 2566 ดำเนินการให้เป็นไปตามประกาศมาตรการรองรับเพื่อจัดการมลพิษอากาศ และไม่มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน และการทำงาน จึงไม่มีการจัดสถานที่สำรองในช่วงเวลาดำเนินการ

- ประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง(เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม)
๕.๓.๒ การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงาน ที่ส่งผลต่อพนักงาน
(๑) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่ เกิดจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
(๒) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดในข้อ(๑) ถ้าพบว่ามีเสียงดังที่มาจากภายนอกสำนักงาน แนวทางการกำหนดมาตรการ มีดังนี้
  – มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับพนักงาน
  – มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการได้รับอันตราย
(๑) ประกาศมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่ เกิดจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
- ประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง(เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม)
(๒) หลักฐานการปฎิบัติตามมาตรการ
- การประเมินประสิทธิภาพผู้รับจ้าง
๕.๔ ความน่าอยู่
(รับผิดชอบโดยคุณพีรวัช)
๕.๔.๑ มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของ สำนักงานโดยจะต้องดำเนินการดังนี้
(๑) จัดทำแผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและ นอกอาคาร โดยจะต้องกำหนดพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน เช่น พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่สีเขียว พื้นที่ส่วนรวมและพื้นที่ทำงาน เป็นต้น สามารถสื่อสารด้วยป้ายหรืออื่นๆ ที่เหมาะสมเพื่อบ่งชี้
(๒) มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบอย่าง เหมาะสมทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งใน อาคารและนอกอาคาร
(๓) มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งพื้นที่เฉพาะและพื้นที่ทั่วไป ทั้งในอาคารและนอกอาคาร
(๔) การกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และคงรักษาไว้ของสำนักงานรวมไปถึงมีการปฏิบัติ จริงตามแผนงาน
(๑) และ (๒) แผนผังของสำนักงานทั้งในตัวอาคารและ นอกอาคาร
- ประกาศ_บริบท ขอบเขต และแผนผังองค์กร
(๓) แผนการบำรุงรักษาความสะอาดอาคารบริหารประจำปี
(๔) มาตรการการเพิ่มพื้นที่สีเขียว
ยังไม่มีมาตรการเพิ่มพื้นที่สีเขียว แต่มีการจัดพื้นที่บางบริเวณตามความเหมาะสมให้มีพื้นที่สีเขียว
- รูปพื้นที่สีเขียว
๕.๔.๒ ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด  
๕.๔.๓ ร้อยละการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ต่างๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงาน เป็นต้น
- มีการดูแลบำรุงรักษาพื้นที่ทำงานให้เหมาะสม จากเดิมเป็นพื้นปูน เป็นการปูกระเบื้องยางเพื่อแก้ปัญหาฝุ่นละออง อีกทั้งยังสามารถทำความสะอาดได้ง่าย และถือเป็นการสร้างบรรยากาศที่ดีต่อการทำงาน
- รูปภาพพื้นและเพดานก่อนการปรับปรุง
- รูปภาพพื้นและเพดานหลังปรับปรุง
- มีการจัดพื้นที่ส่วนกลาง สำหรับการแลกเปลี่ยนพูดคุย ในช่วงเวลาพัก
- มีบริเวณพื้นที่สีเขียว
๕.๔.๔ มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคและดำเนินการได้ตามที่กำหนด
(๑) มีการกำหนดแนวทางการป้องกันสัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่างเหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ
(๒) มีการกำหนดความถี่ในการตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรคอย่างน้อยที่สุดเดือนละ ๑ ครั้ง
(๓) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน)
(๔) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการเมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค
(๕) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์นำโรคในระหว่างการตรวจประเมินของกรมฯ
หมายเหตุ : การควบคุมสัตว์พาหะนำโรค สำนักงานสามารถควบคุมและจัดการได้เอง หรือว่าจ้างหน่วยงานเฉพาะมาดำเนินการแทน

(๑) (๒) (๔) แผนการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค ประจำปี 2566
(๓) (๕) รายงานการตรวจสอบร่องรอย
- สัญญาจ้างกำจัดปลวก มด แมลงสาบและรายงานผลฯ
- รูปการป้องกันนกพิราบ
- รูปกรงดักหนูบริเวณที่พบร่องรอย
- รูปยาฉีดยุง
- รายงานการติดตามควบคุมสัตว์พาหะนำโรค เดือนมกราคม
๕.๕ การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน
(รับผิดชอบโดยคุณชลลดา / คุณนิพัทธา)
๕.๕.๑ การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟ ตามแผนที่กำหนด
(๑) มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ
(๒) จำนวนคนเข้าอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้น จะต้องไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๔๐ ของพนักงานทั้งหมด
(๓) พนักงานทุกคนจะต้องเข้าฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง
(๔) มีการอบรมดับเพลิงขั้นต้นตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรองการอบรม ภาพถ่าย เป็นต้น
(๕) มีการฝึกซ้อมอพยพตามแผนที่กำหนด พร้อมแสดงหลักฐาน เช่น ใบรับรอง ภาพถ่าย เป็นต้น
(๖) มีการจุดรวมพลที่สามารถรองรับได้ พร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน
(๗) มีการกำหนดเส้นทางหนีไฟ ธงนำทางหนีไฟไปยังจุดรวมพลพร้อมสื่อสารในพื้นที่ปฏิบัติงาน
(๘) มีการกำหนดทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟพร้อมมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน

(๑) แผนการฝึกอบรมและอพยพหนีไฟ
- กิจกรรมอพยพหนีไฟ
- โครงการอบรมระบบความปลอดภัยและการป้องกันอัคคีภัย สำหรับบุคลากร วันพุธที่ 20 กรกฎาคม 2565
(๒) และ (๓) หลักฐาน
(๔) รูปกิจกรรมอบรมอพหนีไฟ
(๕) รูปกิจกรรมอพยพหนีไฟ
(๖) รูปจุดรวมพล
(๗) รุปแผนผังเส้นทางหนีไฟ
(๘) รูปสัญลักษณ์ทางหนีไฟ
๕.๕.๒ มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย ๔ คน) - คณะมีแผนบริหารความต่อเนื่องในสภาวะวิกฤตที่เป็นปัจจุบันและเหมาะสม - แผนบริหารความต่อเนื่องในสภาวะวิกฤต
๕.๕.๓ ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้และร้อยละของ พนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย ๔ คน)
(๑) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง
  – ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้งาน (กำหนดระยะห่างอย่างน้อย ๒๐ เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจาก พื้นไม่เกิน ๑๕๐ เซนติเมตร นับจากคันบีบและถ้าเป็นวางกับพื้นที่จะต้องมีฐานรองรับ) พร้อมกับติดป้ายแสดง
  – ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี)
  – สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสายฉีด (Hose and Hose Station) ถ้ามี
(๒) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและต้องพร้อมใช้งาน
  – สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่ มากกว่า ๓๐๐ ตารางเมตรหรืออาคารสูงเกิน ๒ ชั้นขึ้นไป)
  – ติดตั้งตัวดักจับควัน(smoke detector)หรือความร้อน (heat detector)
(๓) มีการตรวจสอบข้อ (๑)-(๒) และหากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการแจ้งซ่อมและแก้ไข
(๔) พนักงานจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและสัญญาณแจ้ง เตือนอย่างน้อยร้อยละ ๗๕ จากที่สุ่มสอบถาม
(๕) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
(๑) รูปภาพแสดงที่ตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง
(๒) รูปจุดติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือน
(๓) แผนบำรุงรักษาถังดับเพลิงประจำปี ตรวจสอบและรายงานผลฯ (ดูแลโดยคุณกานต์)
(๔) -
(๕) รูปภาพแสดงที่ตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง

 

 

 



Top
We use cookies to improve our website. By continuing to use this website, you are giving consent to cookies being used. More details…